LPA ปี 2565
ด้านที่ 1 การบริหารจัดการ
หน่วยที่ 1 แผนพัฒนาท้องถิ่นและแผนชุมชน
1.องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีการนำโครงการพัฒนาท้องถิ่นนำไปจัดทำงบประมาณรายจ่ายระจำปีในภาพรวมที่นำไปดำเนินการ จัดทำบริการสาธารณะหรือกิจกรรมสาธารณะ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565
1. แผนพัมนาท้องถิ่น (พ.ศ. 2561-2565)
2. ข้อบัญญัติ/เทศบัญญัติงบประมาณรายจ่าย ประจำปีหรือเพิ่มเติม
3. การโอนการแก้ไข เปลี่ยนแปลง คำชี้เเจง งบประมาณรายจ่าย
4. การขออนุมัติใช้เงินสะสม/การได้รับการจัดสรรเงินิุดหนุนเฉพาะกิจ ฯลฯ
หน่วยที่ 2 การปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
2. ร้อยละของข้อร้องทุกข์/ร้องเรียนต่อองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่ดำเนินการสำเร็จลุล่วง
1. มีการมอบหมายสำนัก/กอง/ฝ่าย/เจ้าหน้าที่รับผิดชอบ และมีคำสั่งแต่งตั้ง
2.
ทะเบียนรับเรื่องร้องทุกข์/ร้องเรียน
3. หลักฐานการรายงานผลให้ทราบภายใน 15 วัน
4. มีการเผยเเพร่ทางเว็บไซต์หลักขององค์กรกครองส่วนท้องถิ่น
3.ช่องทางการสื่อสารที่หลากหลายเพื่ออำนวยความสะดวกให้แก่ประชาชนที่จะติดต่อสอบถามหรือขอข้อมูล หรือแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการปฎิบัติงานขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
1. คู่มือสำหรับประชาชนที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจัดทำขึ้น
2. ตรวจสอบสัญญาณอินเตอร์ หรือ Wi-Fi
3. เอกสารประเมินความพึงพอใจ
4. ตรวจสอบการให้บริการช่องทางเว็ฐไซต์หลักขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น/Facebook/Line
4.การประเมินความพึงพอใจของประชาชน ณ จุดบริการขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (Citizen Feedback)
1. แบบประเมินความพึงพอใจ ฯ
2. รายงานผลการประเมินความพึงพอใจที่สรุปผลเสนอผู้บริหารท้องถิ่น
3. เอกสารที่เเสดงให้เห็นถึงการให้คะเเนนและเเสดงความคิดเห็นของประชาชนต่อการให้บริการขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
4. มีการเผยแพร่ทางเว็บไซต์หลักขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
5.องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีการดำเนินการตามมาตรการป้องกันการละเว้นการปฏิบัติหน้าที่ในการบังคับใช้กฏหมายเกี่ยวกับป้ายโฆษณา
1. คำสั่งแบ่งงานหรือมอบหมายหน้าที่ให้รับผิดชอบเรื่องป้ายโฆษณาบนทางสาธารณะ
2. ตรวจสอบการให้บริการช่องทางเจ้าเบาะเเสป้ายโฆษณาหรือสิ่งอื่นใดที่รุกล้ำทางสาธารณะที่ไม่ชอบด้วยกฏหมาย
ในระบบเทคโนโลยีสารสนเทศหรือเครือข่ายสังคมออนไลน์ หรือช่องทางอื่น เช่น ทางไปรษณีย์ กล่องรับความคิดเห็น เป็นต้น
3. เอกสารที่เกี่ยวข้องกับการรายงานผลการดำเนินการ ตลอดจนปัญหาและอุปสรรคในการปฏิบัติงาน และเเจ้งข้อมูลให้กับจังหวัดและให้จังหวัดรายงานผลให้ กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นทราบ
4. ตรวจสอบการดำเนินการมาตรการป้องกันการละเว้นการปฏิบัติหน้าที่ในการบังคับใช้กฏหมายเกี่ยวกับป้ายโฆษณาเช่น รูปถ่ายการประชุมหรือหลักฐานเชิงประจักษ์ที่เเสดงให้เห็นถึงการดำเนินการตามาตรการดังกล่าว
5. หลักฐานเกี่ยวกับการดำเนินคดีตามกฏหมายกับผู้ติดตั้งป้ายโฆษณาหรือสิ่งอื่นใดที่รุกล้ำทางสาธารณะที่ไม่ชอบด้วยกฏหมาย
หน่วยที่ 3 ระบบการควบคุมภายใน การตรวจสอบภายใน และการบริหารจัดการความเสี่ยง
6.การจัดทำรายงานการประเมินผลการควบคุมภายในระดับหน่วยงานของรัฐได้อย่างมีประสิทธิภาพ
1.คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการการประเมินผลการควบคุมภายในระดับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
2. รายงานการประเมินผลการควบคุมภายในตาม แบบที่กำหนด แบบปค.5 และแบบ ปค.6
3. หนังสือนำส่งรายงานให้นายอำเภอหรือสำนักงานส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นจังหวัด แล้วแต่กรณี
4. เอกสารหลักฐานแสดงที่มาในการประเมินความเสี่ยง เช่น รายงานการประชุมหรือเอกสารอื่นที่เกี่ยวข้องของสำนัก/กอง
7.ผู้ตรวจสอบภายในปฏิบัติงานตรวจสอบได้อย่างมีประสิทธิภาพตามหลักเกณฑ์ฯ ที่กระทรวงการคลังกำหนด
1. เอกสารหลักฐานที่เเสดงถึงการมีผู้ดำรงตำแหน่งนักวิชาการตรวจสอบภายในหรือรักษาการในตำแหน่งนักวิชาการตรวจสอบภายใน
หรือการมอบหมายให้ปฏิบัติหน้าที่ผู้ตรวจสอบภายใน
2. กฏบัตรที่ผู้บริหารท้องถิ่นพิจารณาให้ความเห็นชอบ
3. เอกสารหลักฐานที่เเสดงถึงการเผยแพร่กฎบัตร หน่วยรับตรวจทราบ
4. เอกสารหลักฐานที่เเสดงถึงการสอบทานความเหมาะสมของกฎบัตรอย่างน้อยปีละหนึ่งครั้ง
5. แผนการตรวจสอบประจำปี ได้รับอนุมัตจากผู้บริหารท้องถิ่น
6. รายงานผลการตรวจสอบ
7. เอกสารหลักฐานที่เเสดงถึงการติดตามผลการดำเนินการตามข้อเสนอเเนะจากรายงานผลการตรวจสอบ
8.การบริหารจัดการความเสี่ยงระดับหน่วยงานของรัฐได้อย่างมีประสิทธิภาพตามมาตรฐานและหลักเกณฑ์ที่กระทรวงการคลังกำหนด
1. คำสั่งมอบหมายผู้รับผิดชอบดำเนินการบริหารจัดการความเสี่ยงระดังองค์กร
2. แผนการบริหารจัดการความเสี่ยงประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 และเอกสารรหลักฐานที่เเสดงถึงการสื่อสารกับผู้ที่เกี่ยวข้อง
3. เอกสารหลักฐานการติดตามประเมินผลและทบทวนแผนการบริหารจัดการความเสี่ยง
4. หนังสือรายงานผลตามแผนการบริหารจัดการความเสี่ยงต่อผู้บริหารท้องถิ่น
หน่วยที่ 4 การดำเนินงานตามนโยบายของจังหวัด
์